ใบงานที 3 photocell & 7segment

ใบงานที 3  photocell & 7segment

ผู้จัดทำ

นาย กฤษณะ   รักธรรม          001   
นาย สราวุธ      ชอบเพื่อน     021






หลักการทำงาน

แอลดีอาร์ (LDR)
       แอลดีอาร์ (LDR) หรือ ตัวต้านทานแปรเปลี่ยนค่าตามแสง หลายครั้งที่หลายๆคนอาจเรียกหรือจำสับสนกับ LED , LDR แต่เมื่อมาอ่านบทความนี้แล้ว ผมก็หวังว่าจะเข้าใจได้ดียิ่งขึ้น
โดยสัญลักษณ์ทางไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ของ LDR นี้คือ
       แอลดีอาร์(LDR) หรือชื่อเต็มๆคือ Light Dependent Resistor โดยแปลความหมายตรงตัวคือ "ต้านทาน ขึ้นอยู่กับ แสง" LDR คือ ความต้านทานชนิดที่ไวต่อแสง กล่าวคือ ตัวความต้านทานนี้สามารถเปลี่ยนสภาพทางความนำไฟฟ้า ได้เมื่อมีแสงมาตกกระทบ บางครั้งเรียกว่าโฟโตรีซีสเตอร์ ( Photo Resistor) หรือ โฟโตคอนดัคเตอร์ (Photo Conductor)   เป็นตัวต้านทานที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ (Semiconductor) ประเภทแคดเมี่ยมซัลไฟด์ ( Cds : Cadmium Sulfide) หรือแคดเมี่ยมซิลินายส์ ( CdSe : Cadmium Selenide) ซึ่งทั้งสองตัวนี้ก็เป็นสารประเภทกึ่งตัวนำ เอามาฉาบลงบนแผ่นเซรามิกที่ใช้เป็นฐานรองแล้วต่อขาจากสารที่ฉาบ ไว้ออกมา
จากรูปจะแสดงลักษณ์ของ LDR ครับ
คุณสมบัติทางแสง
       การทำงานของ LDR เพราะว่าเป็นสารกึ่งตัวนำ เวลามีแสงตกกระทบลงไปก็จะถ่ายทอดพลังงาน ให้กับสาร ที่ฉาบอยู่ ทำให้เกิดโฮลกับอิเล็กตรอนวิ่งกันพล่าน. การที่มีโฮล กับอิเล็กตรอนอิสระนี้มากก็เท่ากับ ความต้านทานลดลงนั่นเอง ยิ่ง ความเข้มของแสงที่ตกกระทบมากเท่าไร ความต้านทานก็ยิ่งลดลงมากเท่านั้น
       เมื่อเทียบกับการทำงาน ของอุปกรณ์ไวแสง ประเภทอื่น ๆ แต่ถึงอย่างไรแสงในช่วงคลื่นนี้ ก็มีอยู่ในแสงอาทิตย์ แสงจากหลอดไฟแบบไส้ และ แสงจากหลอดฟลูออเรสเซนต์ ด้วย หรือ ถ้าจะคิดถึงความยาวคลื่น ที่ LDR จะตอบสนองไวที่สุดแล้ว ก็มีอยู่หลาย ความยาวคลื่น โดยทั่วไป LDR ที่ทำจากแคดเมียมซัลไฟด์ จะไวต่อแสงที่มีความยาวคลื่นในช่วง 5,000 กว่า อังสตรอม. ซึ่งเราจะเห็นเป็นสีเขียว ไปจนถึงสีเหลือง สำหรับ บางตัวแล้ว ความ ยาวคลื่นที่ไวที่สุดของมันใกล้เคียงกับความยาวคลื่นที่ไวที่สุดของตาคนมาก ( ตาคนไวต่อความ ยาวคลื่น ประมาณ 5,550 อังสตรอม ) จึงมักจะใช้ทำเป็นเครื่องวัดแสง ในกล้องถ่ายรูป ถ้า LDR ทำจาก แคดเมียมซีลิไนด์ก็จะไวต่อ ความ ยาวคลื่นในช่วง 7,000 กว่า อังสตรอม ซึ่งไปอยู่ใน ช่วงอินฟราเรดแล้ว

LDR : Light Dependent Resistor  คือ ความต้านทานชนิดที่ไวต่อแสง กล่าวคือ ตัวความต้านทานนี้สามารถเปลี่ยนสภาพทางความนำไฟฟ้า ได้เมื่อมีแสงมาตกกระทบ บางครั้งเรียกว่าโฟโตรีซีสเตอร์ ( Photo  Resistor)   หรือ โฟโตคอนดัคเตอร์   (Photo Conductor)   เป็นตัวต้านทานที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ(Semiconductor)   ประเภทแคดเมี่ยมซัลไฟด์ ( Cds : Cadmium Sulfide)   หรือแคดเมี่ยมซิลินายส์ ( CdSe : Cadmium Selenide)   ซึ่งทั้งสองตัวนี้ก็เป็นสารประเภทกึ่งตัวนำ เอามาฉาบลงบนแผ่นเซรามิกที่ใช้เป็นฐานรองแล้วต่อขาจากสารที่ฉาบ ไว้ออกมา

LDRLDR

LDR (Light Dependent Resistor) คือตัวต้านทานปรับค่าตามแสง ตัวต้านทานชนิดนี้สามารถเปลี่ยนความนําไฟฟ้าได้เมื่อมีแสงมาตกกระทบ โฟโตรีซีสเตอร์ ( Photo  Resistor)   หรือ โฟโตคอนดัคเตอร์   (Photo Conductor)   เป็นตัวต้านทานที่ทำมาจากสารกึ่งตัวนำ (Semiconductor)   ประเภทแคดเมี่ยมซัลไฟด์ ( Cds : Cadmium Sulfide)   หรือแคดเมี่ยมซิลินายส์ ( CdSe : Cadmium Selenide)   ซึ่งทั้งสองตัวนี้ก็เป็นสารประเภทกึ่งตัวนำ เอามาฉาบลงบนแผ่นเซรามิกที่ใช้เป็นฐานรองแล้วต่อขาจากสารที่ฉาบ ไว้ออกมา โครงสร้างของ LDR
ldr1
การทํางานของ LDR เมื่อเวลามีแสงตกกระทบลงไปก็จะถ่ายทอดพลังงาน ให้กับสาร ที่ฉาบอยู่ ทำให้เกิดโฮลกับอิเล็กตรอนวิ่งกันพล่าน การที่มีโฮล กับอิเล็กตรอนอิสระนี้มากก็เท่ากับ ความต้านทานลดลงนั่นเอง ยิ่ง ความเข้มของแสงที่ตกกระทบมากเท่าไร ความต้านทานก็ยิ่งลดลงมากเท่านั้น ดังนั้นเมื่อ LDR ถูกแสงตกประทบจะทําให้ ตัว LDR มีความต้านทานลดลง และเมื่อไม่มีแสงตกประทบจะมีความต้านทานมากขึ้น
สัญลักษณ์ของ LDR คือ
ldr-photoresistor-symbol
ตัวอุปกรณ์ของ LDR
LDR มักถูกนํามาใช้ในวงจร switch ทางแสง ปิด-เปิดไฟด้วยแสง วัดความเข้มแสง ฯลฯ
ตัวอย่างการนํา LDR ไปใช้งานเบื้องต้น ลองดูตามวงจรนี้ครับ
ldr_example
จากวงจรเมื่อมีแสงสว่างตกประทบ LDR ค่าความต้านทานของ LDR ลดลง ทําให้แรงดันตกคร่อม LDR ลดลงส่งผลให้ ทรานซิสเตอร์หยุดนํากระแสไฟฟ้า ไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน Load แต่เมื่อไม่มีแสงตกกระทบ LDR ค่าความต้านทาน LDR สูงขึ้น แรงดันตกครอม LDR สูงขึ้นทําให้ ทรานซิสเตอร์นํากระแส กระแสไฟฟ้าไหลผ่าน Load
credit :http://www.step1990.com/photo-switch    https://www.thitiblog.com/blog/6796

วีดีโอการทดสอบ


รูปการต่อวงจร



LED test LDR





Code




int LED1 = 2;
int LED2 = 3;
int LED3 = 4;
int LED4 = 5;
void setup() {
  // initialize serial communication:
  Serial.begin(9600);
  pinMode (LED1,OUTPUT);
  pinMode (LED2,OUTPUT);
  pinMode (LED3,OUTPUT);
  pinMode (LED4,OUTPUT);
}

void loop() {
  // read the sensor:
  int sensorReading = analogRead(A0);
  // map the sensor range to a range of four options:
  int range = map(sensorReading, sensorMin, sensorMax, 0, 3);

  // do something different depending on the range value:
  switch (range) {
    case 0:    // your hand is on the sensor
      Serial.println("dark");
      digitalWrite (LED1,HIGH);
      digitalWrite (LED2,LOW);
      digitalWrite (LED3,LOW);
      digitalWrite (LED4,LOW);
      break;
    case 1:    // your hand is close to the sensor
      Serial.println("medium");
      digitalWrite (LED2,HIGH);
      digitalWrite (LED3,LOW);
      digitalWrite (LED1,LOW);
      digitalWrite (LED4,LOW);
      break;
    case 2:    // your hand is a few inches from the sensor
      Serial.println("dim");
      digitalWrite (LED3,HIGH);
      digitalWrite (LED1,LOW);
      digitalWrite (LED2,LOW);
      digitalWrite (LED4,LOW);
      break;
    case 3:    // your hand is nowhere near the sensor
      Serial.println("bright");
      digitalWrite (LED4,HIGH);
      digitalWrite (LED2,LOW);
      digitalWrite (LED3,LOW);
      digitalWrite (LED1,LOW);
      break;
  }
  delay(1);        // delay in between reads for stability
}


                                              ดาวโหลด


ความคิดเห็น

บทความที่ได้รับความนิยม